วันพฤหัสบดีที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2557

รายงานการฝากครรภ์ 5 ครั้งคุณภาพ นับจากช่วงอายุครรภ์(สัปดาห์)

     จากบทความตอนที่แล้ว เรื่อง  รายงานการฝากครรภ์ 5 ครั้งคุณภาพ ซึ่งรายงานดึงข้อมูลครั้งคุณภาพ โดยนับจากการมารับบริการตรวจก่อนคลอดอยู่ในช่วงคุณภาพ (ที่มีเครื่องหมายถูก สีเขียว) นั้น

     เนื่องจากโปรแกรม HOSxP_PCU version 3.57.1.7 มี Bug การคำนวณอยูในช่วงคุณภาพ (เครื่องหมายถูก สีเขียว) ทั้งๆที่มารับบริการอยู่ในช่วง week_min_quality กับ week_max_quality
แต่โปรแกรมคำนวณเป็นไม่อยูในช่วงคุณภาพ (เครื่องหมายกากบาท สีแดง)  ทำให้รายงานมีข้อมูลครั้งคุณภาพน้อยกว่าความจริง  ในโปรแกรมคงต้องรอให้บริษัท BMS แก้ Bug ในเวอร์ชั่นต่อไป...
ผมจึงได้ออกแบบ/เขียนรายงาน เพิ่มเติมอีก  คือ

     รายงาน CUSTOM-LRT-รายงานการฝากครรภ์ 5 ครั้งคุณภาพ.cds  ตามภาพ



     เป็นรายงานสำหรับใช้ประกอบการสรุปการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งคุณภาพ ของหญิงคลอดในช่วงวันที่ที่ต้องการ ว่าฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งคุณภาพหรือไม่

    เงื่อนไขที่ใช้ในรายงานนี้ คือ
     1) ประชากรเฉพาะผู้ที่มีประเภทการอยู่อาศัยเป็น 1,3 เท่านั้น (1-มีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ และอยู่จริง, 3-มาอาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ (ตามทะเบียนบ้านในเขต)แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขต)
     2) แสดงข้อมูลตาม ช่วงวันที่คลอด ที่เลือก
     3) คุูณภาพครั้งที่ 1-5  นับจากช่วงอายุครรภ์(สัปดาห์)  week_min_quality กับ week_max_quality ที่มารับบริการตรวจก่อนคลอดครั้งนั้น
     4) เรียงลำดับตามวันที่คลอด


    ต้องการใช้รายงานนี้  loei_report_anc_quality1.rar ให้ติดต่อกับ Admin อำเภอ / Admin โรงพยาบาล  อำเภอท่าน หรือดาวโหลดรายงาน ที่เว็บไซต์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย http://www.lo.moph.go.th/moph/

      ระบบรายงาน  >>  รายงาน  HOSXP PCU


วันจันทร์ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2557

รายงานการฝากครรภ์ 5 ครั้งคุณภาพ

     มีรายงานที่เกี่ยวกับระบบงานบัญชี 2 (หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 6 สัปดาห์)  เพิ่มเติม คือ

     รายงาน CUSTOM-รายงานการฝากครรภ์ 5 ครั้งคุณภาพ.cds  ตามภาพ



     เป็นรายงานสำหรับใช้ประกอบการสรุปการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งคุณภาพ ของหญิงคลอดในช่วงวันที่ที่ต้องการ ว่าฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งคุณภาพหรือไม่

    เงื่อนไขที่ใช้ในรายงานนี้ คือ
     1) ประชากรเฉพาะผู้ที่มีประเภทการอยู่อาศัยเป็น 1,3 เท่านั้น (1-มีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบ แ ละอยู่จริง, 3-มาอาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ (ตามทะเบียนบ้านในเขต)แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขต)
     2) แสดงข้อมูลตาม ช่วงวันที่คลอด ที่เลือก
     3) คุูณภาพครั้งที่ 1-5  ดึงข้อมูลจากการมารับบริการตรวจก่อนคลอด >> อยูในช่วงคุณภาพ (ที่มีเครื่องหมายถูก สีเขียว)
     4) เรียงลำดับตามวันที่คลอด


    ต้องการใช้รายงานนี้ loei_report_anc_quality.rar ให้ติดต่อกับ Admin อำเภอ / Admin โรงพยาบาล  อำเภอท่าน หรือดาวโหลดรายงาน ที่เว็บไซต์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย http://www.lo.moph.go.th/moph/
      ระบบรายงาน  >>  รายงาน  HOSXP PCU




วันพุธที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2557

รายงานทะเบียนติดตามระดับความดันโลหิต ของผู้ป่วยความดันโหิตสูงรับบริการในคลินิกพิเศษ

     มีรายงานที่เกี่ยวกับระบบการเฝ้าระวัง ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สำหรับใช้เป็นทะเบียนติดตามระดับความดันโลหิต เพิ่มเติมอีก 1 รายงาน คือ

     รายงาน CUSTOM-ทะเบียนติดตามระดับความดันโลหิต ของผู้ป่วยความดันโหิตสูงรับบริการในคลินิกพิเศษ.cds  ตามภาพ


     เป็นรายงานสำหรับใช้เป็นทะเบียนติดตามระดับความดันโลหิต ของผู้ป่วยความดันโหิตสูงรับบริการในคลินิกพิเศษ เพื่อใช้ประกอบการวิเคราะห์ค่าระดับความดันโลหิต 3 ครั้งสุดท้ายว่าผู้ป่วยควบคุมความดันโลหิตได้หรือไม่

    เงื่อนไขที่ใช้ในรายงานนี้ คือ
     1) ผู้รับบริการต้องลงทะเบียนในคลินิกพิเศษ >> คลินิกเบาหวาน  สถานะปัจจุบัน: ยังรักษาอยู่  และยังไม่จำหน่ายออกจากทะเบียน
     2) แสดงข้อมูลตามปีงบประมาณที่เลือก >> โดยดึงข้อมูลจากวันที่มารับบริการในคลินิกควานดันโลหิตสูง
     3) ผู้รับบริการในคลินิกควานดันโลหิตสูง ระบุประเภทการมาของผู้ป่วยคลินิกพิเศษ (คลินิกที่นัดมา: ติ๊กเครื่องหมายถูก ในช่องสี่เหลี่ยมเล็กๆหน้า ควานดันโลหิตสูง และติ๊กมาตามนัดของคลินิกพิเศษ หรือติ๊กมาผิดนัด แต่มารับบริการในคลินิกพิเศษ)
     4) ต้องมีการวัด BP อย่างน้อย 1 ครั้งในปีงบประมาณนั้น


    ต้องการใช้รายงานนี้ loei_report_ht_control_bp.rar ให้ติดต่อกับ Admin อำเภอ / Admin โรงพยาบาล  อำเภอท่าน หรือดาวโหลดรายงาน ที่เว็บไซต์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย http://www.lo.moph.go.th/moph/
      ระบบรายงาน  >>  รายงาน  HOSXP PCU




วันอังคารที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2557

รายงานทะเบียนติดตามระดับน้ำตาล DTX ของผู้ป่วยเบาหวานรับบริการในคลินิกพิเศษ สำหรับสถานบริการที่ใช้ผลตรวจระดับน้ำตาล DTX

     มีรายงานที่เกี่ยวกับระบบการเฝ้าระวัง ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สำหรับใช้เป็นทะเบียนติดตามระดับน้ำตาล DTX เพิ่มเติมอีก 1 รายงาน คือ

     รายงาน CUSTOM-ทะเบียนติดตามระดับน้ำตาล DTX ของผู้ป่วยเบาหวานรับบริการในคลินิกพิเศษ.cds  ตามภาพ



     เป็นรายงานสำหรับใช้เป็นทะเบียนติดตามระดับน้ำตาล DTX ของผู้ป่วยเบาหวานรับบริการในคลินิกพิเศษ เพื่อใช้ประกอบการวิเคราะห์ค่าระดับน้ำตาล DTX 3 ครั้งสุดท้ายว่าผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาลได้หรือไม่

    เงื่อนไขที่ใช้ในรายงานนี้ คือ
     1) ผู้รับบริการต้องลงทะเบียนในคลินิกพิเศษ >> คลินิกเบาหวาน  สถานะปัจจุบัน: ยังรักษาอยู่  และยังไม่จำหน่ายออกจากทะเบียน
     2) แสดงข้อมูลตามปีงบประมาณที่เลือก >> โดยดึงข้อมูลจากวันที่มารับบริการในคลินิกเบาหวาน
     3) ผู้รับบริการในคลินิกเบาหวาน ระบุประเภทการมาของผู้ป่วยคลินิกพิเศษ (คลินิกที่นัดมา: ติ๊กเครื่องหมายถูก ในช่องสี่เหลี่ยมเล็กๆหน้า เบาหวาน และติ๊กมาตามนัดของคลินิกพิเศษ หรือติ๊กมาผิดนัด แต่มารับบริการในคลินิกพิเศษ)
     4) การวินิจฉัยโรคหลัก (PDX)  ICD10 ที่ใช้ประกอบด้วย  E100, E101, E102, E103, E104, E105, E106, E107, E108, E109, E110, E111, E112, E113, E114, E115, E116, E117, E118, E119, E120, E121, E122, E123, E124, E125, E126, E127, E128, E129, E130, E131, E132, E133, E134, E135, E136, E137, E138, E139, E140, E141, E142, E143, E144, E145, E146, E147, E148, E149

     5) ต้องมีผลตรวจระดับน้ำตาล DTX อย่างน้อย 1 ครั้งในปีงบประมาณนั้น


    ต้องการใช้รายงานนี้ loei_report_dm_control_dtx.rar ให้ติดต่อกับ Admin อำเภอ / Admin โรงพยาบาล  อำเภอท่าน
หรือดาวโหลดรายงาน ที่เว็บไซต์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย http://www.lo.moph.go.th/moph/
      ระบบรายงาน  >>  รายงาน  HOSXP PCU



วันจันทร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2557

รายงานทะเบียนติดตามระดับน้ำตาล FBS ของผู้ป่วยเบาหวานรับบริการในคลินิกพิเศษ สำหรับสถานบริการที่ใช้ผลตรวจระดับน้ำตาล FBS

     มีรายงานที่เกี่ยวกับระบบการเฝ้าระวัง ควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สำหรับใช้เป็นทะเบียนติดตามระดับน้ำตาล FBS เพิ่มเติมอีก 1 รายงาน คือ

     รายงาน CUSTOM-ทะเบียนติดตามระดับน้ำตาล FBS ของผู้ป่วยเบาหวานรับบริการในคลินิกพิเศษ.cds  ตามภาพ



     เป็นรายงานสำหรับใช้เป็นทะเบียนติดตามระดับน้ำตาล FBS ของผู้ป่วยเบาหวานรับบริการในคลินิกพิเศษ เพื่อใช้ประกอบการวิเคราะห์ค่าระดับน้ำตาล FBS 3 ครั้งสุดท้ายว่าผู้ป่วยควบคุมระดับน้ำตาลได้หรือไม่

    เงื่อนไขที่ใช้ในรายงานนี้ คือ
     1) ผู้รับบริการต้องลงทะเบียนในคลินิกพิเศษ >> คลินิกเบาหวาน  สถานะปัจจุบัน: ยังรักษาอยู่  และยังไม่จำหน่ายออกจากทะเบียน
     2) แสดงข้อมูลตามปีงบประมาณที่เลือก >> โดยดึงข้อมูลจากวันที่มารับบริการในคลินิกเบาหวาน
     3) ผู้รับบริการในคลินิกเบาหวาน ระบุประเภทการมาของผู้ป่วยคลินิกพิเศษ (คลินิกที่นัดมา: ติ๊กเครื่องหมายถูก ในช่องสี่เหลี่ยมเล็กๆหน้า เบาหวาน และติ๊กมาตามนัดของคลินิกพิเศษ หรือติ๊กมาผิดนัด แต่มารับบริการในคลินิกพิเศษ)
     4) การวินิจฉัยโรคหลัก (PDX)  ICD10 ที่ใช้ประกอบด้วย  E100, E101, E102, E103, E104, E105, E106, E107, E108, E109, E110, E111, E112, E113, E114, E115, E116, E117, E118, E119, E120, E121, E122, E123, E124, E125, E126, E127, E128, E129, E130, E131, E132, E133, E134, E135, E136, E137, E138, E139, E140, E141, E142, E143, E144, E145, E146, E147, E148, E149
     5) ต้องมีผลตรวจระดับน้ำตาล FBS อย่างน้อย 1 ครั้งในปีงบประมาณ


    ต้องการใช้รายงานนี้ loei_report_dm_control_fbs.rar ให้ติดต่อกับ Admin อำเภอ / Admin โรงพยาบาล  อำเภอท่าน
หรือดาวโหลดรายงาน ที่เว็บไซต์สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย http://www.lo.moph.go.th/moph/
      ระบบรายงาน  >>  รายงาน  HOSXP PCU


     สถานบริการที่ใช้ผลตรวจระดับน้ำตาล DTX โปรดติดตาม ตอนต่อไป...